๒ จากทฤษฎีไปถึงปฎิบัติ
“อวโลกิตะ” มีความหมายว่า การเพ่ง
“อิศวร” มีความหมายว่า อิสระ
“อิศวร” มีความหมายว่า อิสระ
อวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ คือ พระโพธิสัตว์
ซึ่งเพ่งเห็นจิตใจของคนได้โดยอิสระ ปลดเปลื้องความทุกข์ทางร่างกายของพวกเรา
รวมทั้งความทุกข์ทางจิตใจ
ซึ่งเพ่งเห็นจิตใจของคนได้โดยอิสระ ปลดเปลื้องความทุกข์ทางร่างกายของพวกเรา
รวมทั้งความทุกข์ทางจิตใจ
“ได้ปฎิบัติถึงซึ้งแล้วซึ่งปารมิตา”
นั่นหมายความว่า พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ได้ปฎิบัติตามศาสนปัญญา
ถึงซึ่งความลึกซึ้งแล้ว
นั่นหมายความว่า พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ได้ปฎิบัติตามศาสนปัญญา
ถึงซึ่งความลึกซึ้งแล้ว
พระโพธิสัตว์ท่านไม่เพียงแต่ได้เห็นได้ยินด้วยตาแห่งจิต
และหูแห่งจิตเจนจัดในปรัชญาปัญญา
ยังได้ปฎิบัติศาสนปัญญานี้อย่างลึกซึ้ง
หมายถึงการเข้าถึงอย่างสุดซึ้งและเยี่ยมยอด
และหูแห่งจิตเจนจัดในปรัชญาปัญญา
ยังได้ปฎิบัติศาสนปัญญานี้อย่างลึกซึ้ง
หมายถึงการเข้าถึงอย่างสุดซึ้งและเยี่ยมยอด
ปัญญา นี้ก็คือ
การเพ่งเห็นความเป็นศูนย์ของสรรพสิ่ง
ฉะนั้น สิ่งที่เราจะต้องศึกษาให้มากคือคำว่า“ปฎิบัติ”
การเพ่งเห็นความเป็นศูนย์ของสรรพสิ่ง
ฉะนั้น สิ่งที่เราจะต้องศึกษาให้มากคือคำว่า“ปฎิบัติ”
พระอาจารย์องค์หนึ่ง กล่าวว่า “ถ้าเห็นว่า ที่อาตมาพูดนั้นเป็นเรื่องไม่จริง
ท่านจงไปทราบจากการปฎิบัติและการบรรลุ”
ท่านจงไปทราบจากการปฎิบัติและการบรรลุ”
ฉะนั้น การอ่านพระสูตรนี้
ไม่เพียงแต่อ่านด้วยใจ
จะต้องอ่านด้วยกายเพราะเราไม่เพียงแต่จะทราบ
ปรัชญาของปัญญาเท่านั้น
แต่เราจะต้องปฎิบัติปัญญานี้
ในทางพระศาสนาด้วย
ไม่เพียงแต่อ่านด้วยใจ
จะต้องอ่านด้วยกายเพราะเราไม่เพียงแต่จะทราบ
ปรัชญาของปัญญาเท่านั้น
แต่เราจะต้องปฎิบัติปัญญานี้
ในทางพระศาสนาด้วย
เจริญสติปัฏฐาน4 (ดูกายใจ,รูปนาม) เห็นทุกข์(ความคิดอารมณ์เราควบคุมไม่ได้) ให้ดูและทำความเข้าใจไปจนจิตปล่อยวาง แล้วจะพบอิสระภาพจากความทุกข์ เป็นการเสร็จกิจในอริยสัจ4ไปในตัว สาธุค่ะ
ตอบลบ